ที่มา | หนังสือพิมพ์มติชน หน้า18 |
---|---|
เผยแพร่ |
นางนภา เศรษฐกร รองปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ กล่าวภายหลังเป็นประธานเปิดงานเวทีสิทธิเด็ก ครั้งที่ 27 ภายใต้หัวข้อ “Be Smart &Safe Online: ก้าวทันสื่อ รู้ทันสิทธิ…ออนไลน์” ณ โรงแรมปริ๊นซ์ พาเลซ มหานาค กรุงเทพฯ ว่า ปัจจุบันเด็กและเยาวชนมีการใช้สื่อสังคมออนไลน์เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้กระบวนการทำงานมีความซับซ้อนและยากต่อการควบคุม ทั้งนี้ พม.มองการแก้ไขปัญหาดังกล่าวใน 2 มิติ คือ 1.มิติตัวเด็ก ต้องพัฒนาและเสริมสร้างให้เด็กและเยาวชนมีทักษะในการวิเคราะห์ และประเมินสื่อจากอินเตอร์เน็ตได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งจะเป็นการสร้างภูมิคุ้มกันที่ดีได้ 2.มิติสภาพแวดล้อม การมีกฎหมายส่งเสริมสื่อดี และปราบปรามสื่ออันตราย รวมทั้งบังคับใช้กฎหมายและการดำเนินคดีกับผู้กระทำความผิดอย่างจริงจัง มีระบบการคุ้มครอง การช่วยเหลือ และการเยียวยาเด็กและเยาวชนที่ถูกละเมิดสิทธิ ระบบช่วยเหลือผู้กระทำความผิด มีช่องทางการเข้าถึงสิทธิและการร้องเรียน รวมถึงช่องทางที่เป็นมิตรต่อเด็กและเยาวชน
เมื่อเวลา 16.00 น.วันที่ 17 มิถุนายน พล.ต.ต.สุรเชษฐ์ หักพาล ผู้บังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ (ผบก.สปพ.) พ.ต.อ.สำราญ นวลมา รองผบก.สปพ. พ.ต.อ.นิวัฒน์ พึ่งอุทัยศรี ผกก.ควบคุมฝูงชน 2 พ.ต.ท.วสันต์ ธวัชชัยวิรุตษ์ สว.งานสายตรวจ 2 บก.สปพ. พ.ต.ท.ศิรณวิชญ์ อิน
มติชน สมาร์ทบิซ วันที่ 28 ก.ย.2559 ตัวเลข ล่าสุด ระบุว่า มูลค่าการค้า อีคอมเมิร์ซ ของไทย พุ่งสูงไปกว่า 2.24 ล้านล้าน พร้อมๆ กับมีข่าว ก่อนหน้านี้ว่า รัฐบาล เตรียม เก็บภาษี อีคอมเมิร์ซ และ เน็ต ไอดอล มุมมอง และ ผลกระทบ จะเป็นอย่างไร? ไปฟังทัศนะทางกฎหมา
“พิสิษฐ์” ยัน สื่อต้องมีใบประกอบวิชาชีพ ไม่ต่างจากนวดแผนโบราณถ้า ชี้ ใครไม่มีก็ต้องจำคุกเหมือนกัน ยก เว็บ sanook – kapook เข้าข่ายสื่อออนไลน์ภายใต้กม.คุ้มครองสื่อ เมื่อวันที่ 26 เมษายน พล.ต.ต.พิสิษฐ์ เปาอินทร์ รองประธานกรรมาธิการ (กมธ.)